โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (อพ.สธ.-มจ.)

เมื่อวันที่ 7-8 เมษายน ที่ผ่านมา ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. - มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นำโดย อาจารย์ ดร.ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล ผู้อำนวยการศูนย์ฯ  ได้จัดงานประชุมกลุ่มสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่น   หลักสูตร  บริหารและการจัดการ งานที่ 1 งานที่ 2 และงานที่ 3 ครั้งที่ 1/2565   ผ่าน Zoom  Meeting  และ Facebook live ได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาวิน  มะโนชัย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้  เป็นประธาน ในการประชุม กิจกรรมแบ่งออกเป็น

วันที่ 7 เมษายนการบรรยายหัวข้อเรื่อง  งานที่ ๑ งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่น และงานที่ ๒ งานสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น สาธิต รูปแบบออนแอร์/ไลฟ์สด (ถ่ายทอดสด) งานที่ ๒ งานสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น  ใบงานที่ ๕ เรื่อง การเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ของพืชในท้องถิ่น ใบงานที่ ๘ เรื่อง  การเก็บข้อมูลภูมิปัญญาในท้องถิ่น  และใบงานที่ ๙  เรื่อง การเก็บข้อมูลแหล่งทรัพยากรและโบราณคดีในท้องถิ่น โดย อาจารย์ ดร.ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล ผู้อำนวยการศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. - มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การบรรยายหัวข้อ งานที่ ๓ งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์ ธาราฉาย รองผู้อำนวยการศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.- มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สาธิต รูปแบบออนแอร์/ไลฟ์สด (ถ่ายทอดสด) งานที่ ๑ งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่น เรื่อง การกำหนดขอบเขตพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่นและการสำรวจทรัพยากรในพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น  สาธิต รูปแบบออนแอร์/ไลฟ์สด (ถ่ายทอดสด) งานที่ ๓งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น เรื่อง สำรวจ ศึกษา และวิเคราะห์สภาพพื้นที่  (พื้นที่/ ดินและน้ำ/แสงและลม/มุมมอง) โดย วิทยากร ศูนย์ประสานงานอพ.สธ. - มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การบรรยายหัวข้อ ความเป็นมา ความสำคัญ นโยบาย เป้าหมาย และทิศทางการดำเนินงาน ของ อพ.สธ. ในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ  (อพ.สธ.)  โดย คุณชนันต์ติณณ์  เทียนทอง เจ้าหน้าที่งานในพระองค์  ระดับ  6  ปฏิบัติการ : มอบงานรายบุคคล/รายกลุ่ม ในแต่ละหน่วยงาน ปฏิบัติการในพื้นที่ 1. การกำหนดขอบเขตพื้นที่ปกปักทรัพยากรท้องถิ่น 2. เลือกทำใบงาน 1 - 9 อย่างน้อย 1 ใบงาน 3. การทำผังสภาพภูมิศาสตร์ (ดิน/น้ำ แสง/ลม มุมมอง)

วันที่ 8 เมษายนการบรรยายหัวข้อ การบริหารและจัดการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น โดย คุณชนันต์ติณณ์ เทียนทอง  เจ้าหน้าที่งานในพระองค์ระดับ  6  การนำเสนอผลงาน  งานที่  1  โดย  องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำปั้ว องค์การบริหารส่วนตำบลสลุย องค์การบริหารส่วนตำบลสองพี่น้อง และองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ต่อด้วย การนำเสนอผลงาน งานที่ 2 โดย องค์การบริหารส่วนตำบลกึดดช้าง โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม 35 หน่วยงาน จำนวน 100 ท่าน ซึ่งได้รับการตอบรับจากอปท.ในการดูแลของศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. - มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นอย่างดี

ปรับปรุงข้อมูล : 16/9/2565 16:46:53     ที่มา : โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ     จำนวนผู้เปิดอ่าน : 570

กลุ่มข่าวสาร : ข่าวกิจกรรม ข่าวประชาสัมพันธ์

ข่าวล่าสุด

หน่วยประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร จัดการประชุมกลุ่มสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครั้งที่ 1/2568
เมื่อวันที่ 20 – 21 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หน่วยประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร จัดการประชุมกลุ่มสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครั้งที่ 1/2568หลักสูตร การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 1 และองค์ประกอบที่ 2 ณ ห้องประชุมอาคารบุญรอด ศุภอุดมฤกษ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพรโดยได้รับเกียรติจาก ดร.ศิลปชัย จันทร์มีศรี ปลัดอำเภอเจ้าพนักงานปกครองชำนาญการพิเศษ เป็นประธานในพิธีเปิด โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ ศุภวิญญู รองคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร เป็นผู้กล่าวรายงาน ทั้งนี้ได้รับเกียติจากนายมรกต วัชรมุสิก วิทยากร อพ.สธ. และวิทยากรจากศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-ม.วลัยลักษณ์ ร่วมบรรยายในครั้งนี้ด้วย โดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 11 ท่าน จาก 3 หน่วยงาน
25 มีนาคม 2568     |      7260
หน่วยประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร จัดการประชุมกลุ่มสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร การบริหารและการจัดการ งานที่ 1 งานที่ 2 และงานที่ 3 ครั้งที่ 1/2568
เมื่อวันที่ 18– 19 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หน่วยประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร จัดการประชุมกลุ่มสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร การบริหารและการจัดการ งานที่ 1 งานที่ 2 และงานที่ 3 ครั้งที่ 1/2568 ณ ห้องประชุมอาคารบุญรอด ศุภอุดมฤกษ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพรโดยได้รับเกียรติจาก นายวนิพงศ์ มุณีน้อย รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร เป็นประธานในพิธีเปิด โดยมี อาจารย์ ดร.ฐิระ ทองเหลือ คณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร เป็นผู้กล่าวรายงาน ทั้งนี้ได้รับเกียติจากนายมรกต วัชรมุสิก วิทยากร อพ.สธ. และวิทยากรจากศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-ม.วลัยลักษณ์ ร่วมบรรยายในครั้งนี้ด้วยโดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 19 ท่าน จาก 4 หน่วยงาน
25 มีนาคม 2568     |      1709
หน่วยประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานสวนพฤษศาสตร์โรงเรียนหลักสูตร 5 องค์ประกอบ งานสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน รุ่นที่ 1/2568
วันที่ 21 มีนาคม 2568 หน่วยประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนหลักสูตร 5 องค์ประกอบ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน รุ่นที่ 1/2568ณ ห้องประชุมศาสตร์พระราชา อาคารศาสตร์พระราชา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยกิจกรรม ประกอบด้วย1. นำเสนอผลงานปฏิบัติการกลุ่ม : วิธีการรายงานผลแบบเอกสาร เช่น หนังสือ แผ่นพับ แบบบรรยาย เช่น การเล่านิทาน อภิปราย สัมมนาแบบศิลปะ เช่น การแสดงศิลปะพื้นบ้าน ละคร ร้องเพลง ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ แบบนิทรรศการ2. บรรยาย : องค์ประกอบที่ 5 การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา2.1 การนำสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการสู่การเรียนการสอนฝึกปฏิบัติการ :เขียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน3. นำเสนอผลงานปฏิบัติการกลุ่ม : แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
26 มีนาคม 2568     |      2484
หน่วยประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานสวนพฤษศาสตร์โรงเรียนหลักสูตร 5 องค์ประกอบ งานสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน รุ่นที่ 1/2568
วันที่ 20 มีนาคม 2568 หน่วยประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนหลักสูตร 5 องค์ประกอบ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน รุ่นที่ 1/2568ณ ห้องประชุมศาสตร์พระราชา อาคารศาสตร์พระราชา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยกิจกรรม ประกอบด้วย1. การบรรยาย : องค์ประกอบที่ 3 การศึกษาข้อมูลด้านต่าง ๆ1.1 การศึกษาพรรณไม้ที่สนใจ (พืชศึกษา)ฝึกปฏิบัติการ : ศึกษาพรรณไม้ที่สนใจ (พืชศึกษา)2. นำเสนอผลงานปฏิบัติการกลุ่ม : ศึกษาพรรณไม้ที่สนใจ (พืชศึกษา)3. บรรยาย : องค์ประกอบที่ 4 การรายงานผลการเรียนรู้3.1 รวบรวมผลการเรียนรู้3.2 คัดแยกสาระสำคัญ และจัดให้เป็นหมวดหมู่3.3 สรุปและเรียบเรียง3.4 เรียนรู้รูปแบบการเขียนรายงาน3.4.1 แบบวิชาการ3.4.2 แบบบูรณาการ4. การฝึกปฏิบัติการ : วิธีการรายงานผลแบบเอกสาร เช่น หนังสือ แผ่นพับแบบบรรยาย เช่น การเล่านิทาน อภิปราย สัมมนาแบบศิลปะ เช่น การแสดงศิลปะพื้นบ้าน ละคร ร้องเพลง ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ แบบนิทรรศการ
26 มีนาคม 2568     |      20