โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (อพ.สธ.-มจ.)

เมื่อวันที่ 8 กรกฏาคม 2565 เวลา 8.00-12.00 น. ที่ผ่านมา ศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน อพ.สธ.-มจ. ประจำปี 2565 นำโดย อาจารย์ ดร.ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล ผู้อำนวยการศูนย์ฯ และผศ.ดร.เยาวนิตย์ ธาราฉาย รองผู้อำนวยการศูนย์ฯ โดยได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาวิน มะโนชัย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นประธานในการจัดประชุม และได้รับเกียรติจาก คุณพรชัย จุฑามาศ รองผู้อำนวยการ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) และ ดร.ปิยรัษฎ์ ปริญญาพงษ์ เจริญทรัพย์ รองหัวหน้าสำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี  (อพ.สธ.)  ฝ่ายวิชาการและปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการ อพ.สธ. เข้าร่วมประชุม ณ ห้องรวงผึ้ง อาคารสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีผู้เข้าร่วม จำนวน 20 ท่าน

ปรับปรุงข้อมูล : 8/1/2566 21:37:06     ที่มา : โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ     จำนวนผู้เปิดอ่าน : 815

กลุ่มข่าวสาร : ข่าวกิจกรรม ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวประกาศ

ข่าวล่าสุด

ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เข้าร่วมพิธีเปิด การประชุมเชิงปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 5 องค์ประกอบ
วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2568 ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นำโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์ ธาราฉาย รองผู้อำนวยศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเจ้าหน้าที่ ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เข้าร่วมพิธีเปิด การประชุมเชิงปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 5 องค์ประกอบ ระหว่างวันที่ 24 - 27 มิถุนายน 2568 โดยได้รับเกียรติจาก นายคงกระพัน เวฬุสาโรจน์ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ กล่าวเปิดงาน อีกทั้งได้รับเกียรติจาก นางวราภรณ์ ฟูสามป๊อก รองศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ กล่าวรายงาน ณ ห้องประชุมโรงแรม Horizon Village Resort และสวนพฤกษศาสตร์ทวีชล อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
26 มิถุนายน 2568     |      11
ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้จัดฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตรวิทยากรผู้่ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10-13 มิถุนายน 2568
ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้จัดฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตรวิทยากรผู้่ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10-13 มิถุนายน 2568โดยในวันที่ 13 มิถุนายน 2568 มีกิจกรรมการนำเสนองานโดยผู้เข้าร่วมอบรมและการสรุปให้ข้อเสนอแนะจากวิทยากร อพ.สธ. ณ ห้องประชุมใหญ่ 101 ชั้น 1 ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ในการนี้ได้รับเกียรติจากท่านอธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา กล่าวปิดกิจกรรมและมอบเกียรติบัตรแก่ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมจำนวน 113 คน จากศูนย์แม่ข่ายและศูนย์ประสานงานทั่วประเทศ
18 มิถุนายน 2568     |      25
ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร วิทยากรผู้ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10–13 มิถุนายน พ.ศ.2568
เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2568 ที่ผ่านมา ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร วิทยากรผู้ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10–13 มิถุนายน พ.ศ.2568โดยกิจกรรม ประกอบด้วย1. ปฏิบัติการที่ 2 รู้สร้างสร้าง : พิจารณา วิเคราะห์ ปรับปรุง พัฒนา จัดกระบวนการ2. ปฏิบัติการที่ 2.1 พิจารณา วิเคราะห์3. ปฏิบัติการที่ 2.2 ปรับปรุง พัฒนา4. นำเสนอ นำเสนอ Taskข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น (รายบุคคล) ในแต่ละลำดับการดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ปรับปรุง พัฒนา เอกสารการดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 1 งานที่ 4 งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 2 งานที่ 2 งานสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 3 งานที่ 3 งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 4 งานที่ 5 งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 5 งานที่ 1 งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 6 งานที่ 6 งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่นโดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯ5. ปฏิบัติการที่ 2.3 จัดกระบวนการจัดทำเอกสารตามรูปแบบที่กำหนดโดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯ6. บรรยาย เรื่อง การทำสื่อนำเสนองานฐานทรัพยากรท้องถิ่นโดย วิทยากร อพ.สธ.7.ปฏิบัติการที่ 3 รู้สื่อ : รูปแบบ นำเสนอปฏิบัติการที่ 3.1 รูปแบบทำสื่อนำเสนองานฐานทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 1 งานที่ 4 งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 2 งานที่ 2 งานสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 3 งานที่ 3 งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 4 งานที่ 5 งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 5 งานที่ 1 งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 6 งานที่ 6 งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่นโดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯ8. ปฏิบัติการที่ 3.1 รูปแบบ (ต่อ)ทำสื่อนำเสนองานฐานทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 1 งานที่ 4 งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 2 งานที่ 2 งานสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 3 งานที่ 3 งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 4 งานที่ 5 งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 5 งานที่ 1 งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 6 งานที่ 6 งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่นโดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯณ ห้องประชุมใหญ่ 101 ชั้น 1 ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
18 มิถุนายน 2568     |      15
ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร วิทยากรผู้ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10–13 มิถุนายน พ.ศ.2568
เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ที่ผ่านมา ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร วิทยากรผู้ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10–13 มิถุนายน พ.ศ.2568โดยกิจกรรม ประกอบด้วย1. ปฏิบัติการที่ 1.2 เข้าถึงกลุ่มปฏิบัติการ 6 กลุ่ม (ลงพื้นที่ เก็บข้อมูล)พื้นที่ปฏิบัติการ 1 แห่ง (เทศบาลตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่)กลุ่มที่ 1 หมู่ที่/ชุมชนที่ 1 บ้านเมืองขอน บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4กลุ่มที่ 2 หมู่ที่/ชุมชนที่ 6 บ้านโปง บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4กลุ่มที่ 3 หมู่ที่/ชุมชนที่ 8 บ้านศรีวังธาร บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4กลุ่มที่ 4 หมู่ที่/ชุมชนที่ 12 บ้านหม้อ บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4กลุ่มที่ 5 หมู่ที่/ชุมชนที่ 13 บ้านพัฒนาทรายแก้ว บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4กลุ่มที่ 6 หมู่ที่/ชุมชนที่ 15 บ้านเกษตรพัฒนา บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4โดย ผู้เข้ารับฝึกอารมปฏิบัติการฯ2. ปฏิบัติการที่ 1.2 เข้าถึงพื้นที่ (ต่อ)กลุ่มปฏิบัติการ 6 กลุ่ม (ลงพื้นที่ เก็บข้อมูล)พื้นที่ปฏิบัติการ 1 แห่ง (เทศบาลตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่)กลุ่มที่ 1 หมู่ที่/ชุมชนที่ 1 บ้านเมืองขอน บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9กลุ่มที่ 2 หมู่ที่/ชุมชนที่ 6 บ้านโปง บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9กลุ่มที่ 3 หมู่ที่/ชุมชนที่ 8 บ้านศรีวังธาร บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9กลุ่มที่ 4 หมู่ที่/ชุมชนที่ 12 บ้านหม้อ บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9กลุ่มที่ 5 หมู่ที่/ชุมชนที่ 13 บ้านพัฒนาทรายแก้ว บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9กลุ่มที่ 6 หมู่ที่/ชุมชนที่ 15 บ้านเกษตรพัฒนา บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9โดย ผู้เข้ารับฝึกอารมปฏิบัติการฯ3. บรรยาย เรื่อง สรุป เรียบเรียง และจัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่โดย วิทยากร อพ.สธ.4. ปฏิบัติการที่1.3 สรุปสรุป เรียบเรียง และจัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ บันทึกข้อมูลใบงานที่ 1-9โดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯ5. นำเสนอผลงาน ผลงาน/ชิ้นงาน 9 ใบงาน (นำเสนอ 6 กลุ่ม)โดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯ6. สรุปและข้อเสนอแนะโดย วิทยากร อพ.สธณ ห้องประชุมใหญ่ 101 ชั้น 1 ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
18 มิถุนายน 2568     |      16