โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (อพ.สธ.-มจ.)

เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มจ. นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาวิน มะโนชัย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล ผู้อำนวยการศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มจ., ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์ ธาราฉาย รองผู้อำนวยการศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มจ., รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร ปานง่อม, อาจารย์ ดร.โชคอนันต์ วาณิชย์เลิศธนาสาร, นายชัยวิชิต เพชรศิลา และเจ้าหน้าที่ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้เข้าศึกษาดูงาน ณ พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์นวัตกรรมการเกษตรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และได้รับเกียรติจากพลอากาศเอก เสนาะ พรรณพิกุล ผู้อำนวยการสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และนางสาวสำเภาว์ งามเชย รองผู้อำนวยสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ฝ่ายพัฒนา) โดยมีคณะทำงานร่วมศึกษา จำนวน 13 ท่าน

ปรับปรุงข้อมูล : 6/6/2567 9:57:58     ที่มา : โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ     จำนวนผู้เปิดอ่าน : 144

กลุ่มข่าวสาร : ข่าวกิจกรรม ข่าวประชาสัมพันธ์

ข่าวล่าสุด

ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เข้าร่วมพิธีเปิด การประชุมเชิงปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 5 องค์ประกอบ
วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2568 ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นำโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์ ธาราฉาย รองผู้อำนวยศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเจ้าหน้าที่ ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เข้าร่วมพิธีเปิด การประชุมเชิงปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 5 องค์ประกอบ ระหว่างวันที่ 24 - 27 มิถุนายน 2568 โดยได้รับเกียรติจาก นายคงกระพัน เวฬุสาโรจน์ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ กล่าวเปิดงาน อีกทั้งได้รับเกียรติจาก นางวราภรณ์ ฟูสามป๊อก รองศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ กล่าวรายงาน ณ ห้องประชุมโรงแรม Horizon Village Resort และสวนพฤกษศาสตร์ทวีชล อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
26 มิถุนายน 2568     |      9
ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้จัดฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตรวิทยากรผู้่ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10-13 มิถุนายน 2568
ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้จัดฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตรวิทยากรผู้่ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10-13 มิถุนายน 2568โดยในวันที่ 13 มิถุนายน 2568 มีกิจกรรมการนำเสนองานโดยผู้เข้าร่วมอบรมและการสรุปให้ข้อเสนอแนะจากวิทยากร อพ.สธ. ณ ห้องประชุมใหญ่ 101 ชั้น 1 ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ในการนี้ได้รับเกียรติจากท่านอธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา กล่าวปิดกิจกรรมและมอบเกียรติบัตรแก่ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมจำนวน 113 คน จากศูนย์แม่ข่ายและศูนย์ประสานงานทั่วประเทศ
18 มิถุนายน 2568     |      25
ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร วิทยากรผู้ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10–13 มิถุนายน พ.ศ.2568
เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2568 ที่ผ่านมา ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร วิทยากรผู้ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10–13 มิถุนายน พ.ศ.2568โดยกิจกรรม ประกอบด้วย1. ปฏิบัติการที่ 2 รู้สร้างสร้าง : พิจารณา วิเคราะห์ ปรับปรุง พัฒนา จัดกระบวนการ2. ปฏิบัติการที่ 2.1 พิจารณา วิเคราะห์3. ปฏิบัติการที่ 2.2 ปรับปรุง พัฒนา4. นำเสนอ นำเสนอ Taskข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น (รายบุคคล) ในแต่ละลำดับการดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ปรับปรุง พัฒนา เอกสารการดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 1 งานที่ 4 งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 2 งานที่ 2 งานสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 3 งานที่ 3 งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 4 งานที่ 5 งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 5 งานที่ 1 งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 6 งานที่ 6 งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่นโดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯ5. ปฏิบัติการที่ 2.3 จัดกระบวนการจัดทำเอกสารตามรูปแบบที่กำหนดโดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯ6. บรรยาย เรื่อง การทำสื่อนำเสนองานฐานทรัพยากรท้องถิ่นโดย วิทยากร อพ.สธ.7.ปฏิบัติการที่ 3 รู้สื่อ : รูปแบบ นำเสนอปฏิบัติการที่ 3.1 รูปแบบทำสื่อนำเสนองานฐานทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 1 งานที่ 4 งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 2 งานที่ 2 งานสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 3 งานที่ 3 งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 4 งานที่ 5 งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 5 งานที่ 1 งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 6 งานที่ 6 งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่นโดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯ8. ปฏิบัติการที่ 3.1 รูปแบบ (ต่อ)ทำสื่อนำเสนองานฐานทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 1 งานที่ 4 งานอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 2 งานที่ 2 งานสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 3 งานที่ 3 งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 4 งานที่ 5 งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 5 งานที่ 1 งานปกปักทรัพยากรท้องถิ่นกลุ่มที่ 6 งานที่ 6 งานสนับสนุนในการอนุรักษ์และจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่นโดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯณ ห้องประชุมใหญ่ 101 ชั้น 1 ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
18 มิถุนายน 2568     |      15
ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร วิทยากรผู้ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10–13 มิถุนายน พ.ศ.2568
เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ที่ผ่านมา ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการฝึกอบรมปฏิบัติการงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร วิทยากรผู้ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระหว่างวันที่ 10–13 มิถุนายน พ.ศ.2568โดยกิจกรรม ประกอบด้วย1. ปฏิบัติการที่ 1.2 เข้าถึงกลุ่มปฏิบัติการ 6 กลุ่ม (ลงพื้นที่ เก็บข้อมูล)พื้นที่ปฏิบัติการ 1 แห่ง (เทศบาลตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่)กลุ่มที่ 1 หมู่ที่/ชุมชนที่ 1 บ้านเมืองขอน บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4กลุ่มที่ 2 หมู่ที่/ชุมชนที่ 6 บ้านโปง บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4กลุ่มที่ 3 หมู่ที่/ชุมชนที่ 8 บ้านศรีวังธาร บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4กลุ่มที่ 4 หมู่ที่/ชุมชนที่ 12 บ้านหม้อ บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4กลุ่มที่ 5 หมู่ที่/ชุมชนที่ 13 บ้านพัฒนาทรายแก้ว บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4กลุ่มที่ 6 หมู่ที่/ชุมชนที่ 15 บ้านเกษตรพัฒนา บันทึกข้อมูลใบงานที่ 4โดย ผู้เข้ารับฝึกอารมปฏิบัติการฯ2. ปฏิบัติการที่ 1.2 เข้าถึงพื้นที่ (ต่อ)กลุ่มปฏิบัติการ 6 กลุ่ม (ลงพื้นที่ เก็บข้อมูล)พื้นที่ปฏิบัติการ 1 แห่ง (เทศบาลตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่)กลุ่มที่ 1 หมู่ที่/ชุมชนที่ 1 บ้านเมืองขอน บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9กลุ่มที่ 2 หมู่ที่/ชุมชนที่ 6 บ้านโปง บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9กลุ่มที่ 3 หมู่ที่/ชุมชนที่ 8 บ้านศรีวังธาร บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9กลุ่มที่ 4 หมู่ที่/ชุมชนที่ 12 บ้านหม้อ บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9กลุ่มที่ 5 หมู่ที่/ชุมชนที่ 13 บ้านพัฒนาทรายแก้ว บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9กลุ่มที่ 6 หมู่ที่/ชุมชนที่ 15 บ้านเกษตรพัฒนา บันทึกข้อมูลใบงานที่ 5-9โดย ผู้เข้ารับฝึกอารมปฏิบัติการฯ3. บรรยาย เรื่อง สรุป เรียบเรียง และจัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่โดย วิทยากร อพ.สธ.4. ปฏิบัติการที่1.3 สรุปสรุป เรียบเรียง และจัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ บันทึกข้อมูลใบงานที่ 1-9โดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯ5. นำเสนอผลงาน ผลงาน/ชิ้นงาน 9 ใบงาน (นำเสนอ 6 กลุ่ม)โดย ผู้เข้ารับฝึกอบรมปฏิบัติการฯ6. สรุปและข้อเสนอแนะโดย วิทยากร อพ.สธณ ห้องประชุมใหญ่ 101 ชั้น 1 ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
18 มิถุนายน 2568     |      16